skip to main
|
skip to sidebar
Friday, 18 April 2008
โรคเก้าท์ [GOUT]
โรคเก้าท์
เป็นโรค
ที่เกิด
จากการ
ตกผลึก
ของกรด
ยูริค
ใน
เนื้อเยื่อ
และข้อ
ต่าง ๆ
เรามัก
จะพบ
ในกลุ่ม
ของผู้ที่
กินดี
อยู่ดี
นอก
จากนี้
อาจจะพบ
ในผู้ป่วย
เพศหญิง
วัยหมด
ประจำเดือน
ซึ่งมัก
จะมี
ระดับ
ของกรด
ยูริคสูง
ในเลือด
ภาวะ
ที่มี
กรด
ยูริค
สูงใน
เลือด
ไม่ใช่
โรคเก้าท์
แต่
เรียกว่า
"
Hyperglycemia" จากการ
ศึกษา
พบว่า
ใน
ประชากร
ทั่ว ๆ ไป
ไม่มี
อาการ
ปวดข้อ
พบ
ภาวะ
Hyperuricemia
นี้
ได้ถึง
5 - 13 %
นอก
จากนั้น
ยังพบ
ว่า
ผู้มี
ภาวะนี้
จะเกิด
อาการ
ของโรคเก้าท์
ได้
น้อยกว่า
1 ใน
5 คน
การที่มี
ภาวะ
Hyperuricemia
อาจจะ
เกิดได้
จากการ
รับประทาน
อาหาร
ที่มี
สารที่ทำ
ให้เกิด
กรด
ยูริค
สูง
เช่น
สัตว์ปีก
เครื่องในสัตว์
เครื่องดื่ม
ที่มี
แอลกอฮอล์
และ
ผักอ่อน ๆ
ทั้งหลาย
สำหรับ
อาหารไทย
พบใน
ผักที่
รับประทาน
กับน้ำพริก
เป็นต้น
มีปัจจัย
ทางด้าน
พันธุกรรม
และ
สภาวะ
แวดล้อม
หลาย
ประการ
ที่เกี่ยวข้อง
ตั้งแต่
การผลิต
จนถึง
การขับถ่าย
กรดยูริค
เช่น
น้ำหนัก
ตัวของ
ผู้ป่วย
ลักษณะ
ความ
เป็นอยู่
อาหาร
การกิน
ความ
เข้มข้น
ของเลือด
เป็นต้น
ประวัติ
การเกิด
โรคเก้าท์
ใน
ครอบครัว
พบได้
ประมาณ
20 %
อาการ
แสดง
ของ
โรคเก้าท์
แบ่งได้
3
แบบ
คือ
1.
ข้ออักเสบ
มักพบที่
บริเวณ
นิ้วหัว
แม่เท้า
นอกจากนี้
ยังพบ
บริเวณ
ข้ออื่น ๆ
ของเท้า
ได้บริเวณ
มือและ
แขน
พบได้
น้อยกว่า
อาการ
แสดง
ครั้งแรก
มักจะ
เป็นตอน
กลางคืน
บริเวณ
ที่อักเสบ
จะมี
อาการ
ปวด
บวม
แดง
และร้อน
คล้าย ๆ
กับจะ
เป็นหนอง
มักจะ
มีไข้
ร่วมด้วย
และอาจ
จะมี
อาการ
หนาวสั่น
อาการ
อักเสบ
อาจจะ
เป็นมาก
จนทำให้
เดิน
ไม่ได้
แต่ถ้า
ผู้ป่วย
ได้รับ
การพัก
และ
ยกส่วน
อักเสบ
ให้สูง
ก็อาจ
จะหาย
ได้เอง
ประมาณ
3 - 10
วัน
โดย
ไม่ต้อง
รับประทาน
ยาเลย
ก็ได้
หลัง
อาการ
อักเสบ
ทุเลา
ผิวหนัง
บริเวณ
ที่เคย
อักเสบ
อาจลอก
เป็นแผ่น
คล้ายกับ
หายเป็น
หนอง
สาเหตุ
ที่เกี่ยวข้อง
และอาจ
เป็นตัว
กระตุ้น
ทำให้
เกิดข้อ
อักเสบ
คือ
ก.
การ
ได้รับ
บาดเจ็บ
อุบัติเหตุ
ที่
บริเวณ
นั้น ๆ
และ
เนื่องจาก
อาการ
ของข้อ
อักเสบ
มักจะ
เกิดใน
ข้อ
บริเวณ
เท้า
ดังได้
กล่าว
ข้างต้น
บางครั้ง
เพียงแต่
ไปเดิน
หรือวิ่ง
ผู้ป่วย
ไม่ได้
ไปรับ
อุบัติเหตุ
หรือ
บาดเจ็บ
มา มี
การออก
กำลังกาย
มากเกินไป
เท่านั้น
ก็อาจเกิด
อาการ
ข้อ
อักเสบ
ได้
ข.
การ
ได้รับยา
บางประเภท
ค.
การรับ
ประทาน
อาหาร
ที่มี
กรด
ยูริค
สูง
หรือ
ดื่ม
เครื่องดื่ม
ประเภท
แอลกอฮอล์
ง.
อาการ
อักเสบ
ซึ่งร่วม
กับการ
เจ็บป่วย
บางอย่าง
จ.
อาการ
อักเสบ
ของข้อ
หลังจาก
การ
ผ่าตัด
ในบริเวณ
อื่น
ซึ่งไม่
เกี่ยวข้อง
กับข้อ
นั้น ๆ
2.
การเป็น
ก้อนเนื้อ
จาก
โรคเก้าท์
[ TOPHUS ]
ก้อนเนื้อนี้
เป็นการ
รวมตัวกัน
ของเกลือ
กรดยูริค
ซึ่งมัก
จะพบได้
หลังจากที่
ผู้ป่วย
มีอาการ
ข้ออักเสบ
ครั้งแรก
มาแล้ว
เป็นเวลา
นาน
โดย
ทั่ว ๆ
ไป
ประมาณ
10 ปี
มักจะพบ
ก้อนเนื้อนี้
ได้บริเวณ
หลัง
ข้อศอก
ที่บริเวณ
เส้นเอ็น
ร้อยหวาย
ที่
บริเวณ
มือทั้ง
หลังมือ
และ
ฝ่ามือ
ที่บริเวณ
ติ่งหู
เป็นต้น
บางครั้ง
ก้อนเนื้อนี้
จะแตกออก
และมี
น้ำสี
ขาวข้น
ลักษณะ
เหมือน
ยาสีฟัน
ไหลออกมา
ซึ่งใน
การรักษาตัว
เมื่อเกิด
กรณี
นี้ขึ้น
คือการ
ให้ยา
รักษาแผล
ป้องกัน
การ
ติดเชื้อ
และ
บางครั้ง
อาจจะต้อง
ทำการ
ผ่าตัด
รักษา
เลย
3.
โรคเก้าท์
ที่เกี่ยวข้อง
กับไต
อาจจะพบ
ภาวะ
การขับ
โปรตีน
ทาง
ปัสสาวะ
ร่วมกับ
ภาวะ
ความดัน
โลหิตสูง
ในโรคไต
ที่เกี่ยวข้อง
กับ
โรคเก้าท์
ได้ ใน
กรณีที่
โรคทวี
ความ
รุนแรง
ขึ้น
อาจ
พบว่า
เป็นโรค
นิ่วในไต
ไตอักเสบ
อย่าง
รุนแรง
ความดัน
โลหิต
สูงมาก
อุบัติการ
ของการ
เป็นนิ่วใน
ระบบ
ทางเดิน
ปัสสาวะ
จะมีสูง
ในผู้ป่วย
โรคเก้าท์
โรค
แทรกซ้อน
จาก
โรคเก้าท์
ในราย
ที่เป็น
โรคเก้าท์
อยู่เป็น
เวลานาน ๆ
โดย
เฉพาะ
รายที่
ไม่ได้
รับการ
รักษา
อย่าง
ถูกต้อง
อาจจะนำ
ไปสู่
ภาวะ
ผิด
ปกติ
เช่น
- เบาหวาน
- โรค
หลอดเลือด
แข็งตัว
ซึ่งถ้าเป็น
ใน
บริเวณ
หัวใจ
หรือ
สมอง
ก็จะ
ทำให้
เกิด
อันตราย
ได้มาก
- โรค
ความดัน
โลหิต
สูง
- โรคไต
ชนิด
ต่าง ๆ
การ
รักษา
ส่วน
สำคัญ
ที่สุด
ในการ
รักษา
คือ
การ
ให้
ความรู้
เรื่อง
โรคเก้าท์
ต่อผู้ป่วย
และญาติ
ที่
เกี่ยวข้อง
ทั้งนี้
เพื่อ
ป้องกัน
หรือ
ชะลอ
ไม่ให้
เกิดข้อ
อักเสบ
ขึ้น
บ่อย ๆ
หรือเกิด
ก้อนเนื้อ
จาก
โรคเก้าท์
[ Tophus ]
ก.
การ
ปฏิบัติตัว
โดยการ
เปลี่ยน
กิจวัตร
ประจำ
ที่เป็น
สาเหตุ
ให้เกิด
ข้อ
อักเสบ
เช่น
การ
รับประทาน
อาหาร
ที่มี
สาร
กรด
ยูริคสูง
การดื่ม
เครื่องดื่ม
ประเภท
แอลกอฮอล์
การออก
กำลังกาย
บาง
ประเภท
การลด
น้ำหนัก
ซึ่งจะ
ทำให้
ลดระดับ
เกลือกรด
ยูริค
ในเลือด
หรือการ
งดใช้ยา
บางประเภท
ที่ทำให้
ข้ออักเสบ
ได้บ่อย
ข.
การ
ให้ยา
เช่น
ยาลด
อาการ
อักเสบ
ค.
การ
ให้ยา
เพื่อเร่ง
การ
ขับถ่าย
เกลือกรด
ยูริค
ออกทาง
ปัสสาวะ
ง.
การ
ให้ยา
ที่ลด
การสร้าง
เกลือกรด
ยูริค
ใน
ร่างกาย
ยาตาม
ข้อ ก.
และ ง.
จะทำให้
ระดับ
เกลือกรด
ยูริค
ในเลือด
ลดลง
ทำให้
อุบัติการ
การเกิด
ข้ออักเสบ
จะลดลง
พลตรี
นายแพทย์
ชูศักดิ์
สุวรรณ
ศิริกุล
No comments:
Post a Comment
Newer Post
Older Post
Home
Subscribe to:
Post Comments (Atom)
โรคเกาท์ (Gout)
Blog Archive
▼
2008
(10)
▼
April
(10)
โรคเกาท์ (Gout) การรักษา
โรคเกาท์ (Gout) Food
โรคเกาท์ (Gout) อาหารแสลง
อาหารเสริม ที่ช่วยขจัดกรดยูริกทางไต
โรคเกาท์ (Gout) 3
โรคเกาท์ (Gout)
โรคเกาท์ (Gout)
โรคเกาท์ (Gout)
โรคเก้าท์ [GOUT]
โรคเกาท์ (Gout)
No comments:
Post a Comment